นักวิทยาศาสตร์หลายคน เช่น ดอลลัน เก - ลูซัก ลาวัวซิเอและอาโวกาโดร ให้ความสนใจศึกษามวลอะตอมของธาตุ โดยสังเกตการณ์รวมตัวของธาตุเมื่อเกิดเป็นสารประกอบ พบว่าธาตุเหล่านั้นจะรวมตัวด้วยอัตราส่วนจำนวนอะตอม หรืออัตราส่วนโดยมวลคงที่ สำหรับดอลตัน นั้นเชื่อว่าอะตอมของธาตุต่างชนิดกันมีมวลไม่เท่ากัน จึงได้พยายามหามวลอะตอมของแต่ละธาตุ แต่เนื่องจากอะตอมมีขนาดเล็กมาก (ปัจจุบันพบว่ามีรัศมีอะตอมยาวประมาณ


ดอลตันเสนอให้ใช้ธาตุไฮโดรเจนซึ่งมีมวลน้อยที่สุดเป็นธาตุมาตรฐานในการเปรียบเทียบหามวลอะตอมของธาตุโดยกำหนดให้ธาตุไฮโดรเจน 1 อะตอมมีมวล 1 หน่วย ตัวเลขที่ได้จากการเปรียบเทียบมวลของธาตุ1อะตอม กับมวลของธาตุมาตรฐาน 1 อะตอม เรียกว่า มวลอะตอมของธาตุ ซึ่งเขียนได้โดยความสัมพันธ์ดังนี้












ตัวอย่างที่ 1 ธาตุแมกนีเซียมมีมวลอะตอม 24.31
ธาตุแมกนีเซียม 1 อะตอมมีมวลเท่าใด

มวลของ Mg 1 อะตอม =

=

Mg 1 อะตอม มีมวล

ตัวอย่างที่ 2 ธาตุโซเดียม 10 อะตอม มีมวล

มวลอะตอมของค่าโซเดียมมีค่าเท่าใด
มวลของ Na 1 อะตอม =

=


=

= 23.01
มวลอะตอมของ Na เท่ากับ 23.01
จากตัวอย่างทั้งสองคงช่วยให้นักเรียนเข้าใจได้ว่ามวลอะตอมของธาตุจะไม่มีหน่วยกำกับ เพราะเป็นค่าเปรียบเทียบระหว่างมวล 1อะตอมของธาตุนั้น กับมวลของ

ธาตุในธรรมชาติส่วนใหญ่มีหลายไอโซโทป เช่น คาร์บอนมี 3 ไอโซโทป คือ






มวลอะตอมของคาร์บอน =

= 11.8670+0.1441
= 12.0111
มวลอะตอมของคาร์บอนที่คำนวณได้เป็นค่ามวลอะตอมเฉลี่ยของคาร์บอน จึงจะสอดคล้องกับค่ามวลอะตอมของธาตุที่ปรากฏในตารางธาตุ ดังนั้น ค่ามวลอะตอมของธาตุใดๆ เป็นตารางธาตุจึงมีค่ามวลอะตอมเฉลี่ยซึ่งขึ้นอยู่กับค่ามวลอะตอมและปริมาณของไอโซโทปที่พบอยู่ในธรรมชาติ ปัจจุบันนี้การหามวลอะตอมและปริมาณของแต่ละไอโซโทปของธาตุจะใช้เครื่องแมสสเปกโทรมิเตอร์ส่วนประกอบหลักของออุปกรณ์และการทำงานในเครื่องแมสสเปกโทรมิเตอร์รูปแบบหนึ่งแสดงดังรูป 4.1 ก วิธีการและการทำงานของเครื่องเป็นดังนี้คือ ทำให้อะตอมของสารตัวอย่างในสถานะแก๊สแตกตัวเป็นไอออนบวกโดยใช้ลำอิเล็กตรอนพลังงานสูงยิงไปที่สารตัวอย่าง ไอออนบวกที่แตกตัวออกมานี้มีทั้งประจุ (e) และมวล (m) เมื่อผ่านแผ่นเร่งอนุภาคที่เป็นสนามไฟฟ้า จะทำให้มีความเร็วเพิ่มขึ้นและผ่านเข้าไปในสนามแม่เหล็ก ไอออนบวกจะถูกเบนจากแนวเส้นตรงเป็นเส้นโค้ง รัศมีของเส้นโค้งขึ้นอยู่กับค่า e/m ของไอออนโดยไอออนที่มีค่า e/m ต่ำจะเดินทางโค้งเป็นวงกว้างกว่าไอออนที่มี e/m สูง สำหรับไอออนที่มีประจุเท่ากันแต่มีมวลแตกต่างกัน วิธีการนี้ก็สามารถแยกได้โดยไอออนหนักจะโค้งเป็นวงมากกว่าไอออนเบา เมื่อไอออนทั้งหมดมาตกกระทบกับอุปกรณ์ตรวจสอบ ซึ่งอาจใช้แผ่นฟิล์มหรือเครื่องบันทึกอิเล็กทรอนิกส์และบันทึกเป็นความเข้มหรือกระแส ปริมาณความเข้มหรือกระแสจะเป็นปฏิภาคตรงกับจำนวนไอออนที่ตกกระทบกับอุปกรณ์ตรวจสอบ โดยวิธีการเช่นนี้จึงสามารถบอกปริมาณไอโซโทปที่มีอยู่ในธาตุที่นำมาตรวจสอบได้ ตัวอย่างแมสสเปกตรัมของนีออนซึ่งเป็นข้อมูลที่ได้จากการวัดโดยเครื่องแมสสแปกโทรมิเตอร์แสดงดังรูป4.1 ค.



รูป 4.1 ตัวอย่างแมสสเปกโทรมิเตอร์และแมสสเปกตรัมของนีออน
ตัวอย่างค่ามวลอะตอม ปริมาณร้อยละของแต่ละไอโซโทปที่มีอยู่ในธรรมชาติและค่ามวลอะตอมเฉลี่ยของธาตุบางธาตุแสดงในตาราง 4.1ตาราง 4.1 มวลอะตอม ปริมาณร้อยละของไอโซโทปและมวลอะตอมเฉลี่ยของธาตุบางธาตุ
ไอโซโทป | มวลอะตอมของไอโซโทป | ปริมาณร้อยละที่พบในธรรมชาติ | มวลอะตอมเฉลี่ย |
![]() ![]() | 14.003 15.000 | 99.630 0.370 | 14.007 |
![]() ![]() ![]() | 15.995 16.999 17.999 | 99.760 0.040 0.200 | 15.999 |
![]() ![]() ![]() | 19.992 20.994 21.991 | 90.510 0.270 9.220 | 20.179 |
![]() ![]() | 34.969 36.966 | 75.770 24.230 | 35.453 |
1. จงหามวลอะตอมของกำมะถัน เมื่อกำมะถัน 1 อะตอมมีมวล

2. มวลอะตอมของโซเดียมเท่ากับ 23 โซเดียม 1 อะตอมมีมวลเป็นกี่เท่าของ 1/12 มวลของคาร์บอน-12 1 อะตอม
3. ออกซิเจนมีมวลอะตอม 16.00 ธาตุ x จะมีมวลอะตอมเท่าใด เมื่อธาตุ x 1 อะตอมมีมวลเป็น 4 เท่าของมวลของออกซิเจน 2 อะตอม
4. มวลอะตอมของไฮโดรเจนเท่ากับ 1.008 ไฮโดรเจน 1 อะตอมจะมีมวลกี่กรัม
5. จงหามวลอะตอมของอิริเดียม (Ir) จากข้อมูลต่อไปนี้
ไอโซโทป | มวลอะตอมของไอโซโทป | ปริมาณร้อยละที่พบในธรรมชาติ |
Ir-191 Ir-193 | 191.00 193.00 | 37.30 62.70 |
7. ธาตุยูโรเพียม พบในธรรมชาติ 2 ไอโซโทปคือ


8. ธาตุเงินที่พบในธรรมชาติมี 2 ไอโซโทปคือ



มวลโมเลกุล
โมเลกุลของสาร เป็นอนุภาคขนาดเล็กซึ่งสามารถอยู่อย่างอิสระและแสดงสมบัติเฉพาะตัวของสารนั้นได้ การหามวลโมเลกุลของสารใช้วิธีการเดียวกับการหามวลอะตอมของธาตุ กล่าวคือใช้การเปรียบเทียบมวลของสารนั้น 1 โมเลกุลกับมวลของธาตุมาตรฐาน 1 อะตอม โดยใช้ความสัมพันธ์ดังนี้

ตัวอย่าง 3 สารประกอบ Q5 โมเลกุล มีมวล

สารประกอบ Q มีมวลโมเลกุลเท่าใด
มวลของสารประกอบ Q 1 โมเลกุล =




= 42.17
สารประกอบ Q มีมวลโมเลกุล 42.17
ในกรณีที่ทราบสูตรโมเลกุลของสารประกอบ คือ ทราบว่าหนึ่งโมเลกุลของสารนั้นประกอบด้วยธาตุใดบ้างธาตุละกี่อะตอม สามารถคำนวณมวลโมเลกุล* ได้ดังตัวอย่าง
ตัวอย่าง 4 น้ำตาลทรายมีสูตรโมเลกุล

น้ำตาลทรายมีมวลโมเลกุลเท่าใด
มวลโมเลกุลของ

= (12 x มวลอะตอมของ C) + (22 x มวลอะตอมของ H) + (11 x มวลอะตอม O)
= (12 x 12.011) + (22 x 1.0079) + (11 x 15.99)
= 342 .295
ตัวอย่าง 5 จงหามวลโมเลกุลของ

มวลโมเลกุล(มวลสูตร) ของ

= (1 x มวลอะตอมของ Ca) + (2 x มวลอะตอมของ Cl)
= (1 x 40.078) + (2 x 35.453)
= 110.984
แบบฝึกหัด 4.2
1. จงหามวลโมเลกุลของสารต่อไปนี้ (ใช้ค่ามวลอะตอมจากปกในหนังสือเรียน)
ก. แอสไพลิน

ข. กรดแอวีติก

ค. วิตามินซี

ง. กลีเซอรอล

2. กำมะถัน 1 โมเลกุลประกอบด้วยกำมะถันกี่อะตอม ถ้ากำมะถันมีมวลโมเลกุล 256.523 และมวลอะตอมเท่ากับ 32.066
3. ฟอสฟอรัส 1 โมเลกุลมี 4 อะตอม ถ้ามวลโมเลกุลของฟอสฟอรัสเท่ากับ 123.88 จงหามวลอะตอมของฟอสฟอรัส
4. สารประกอบ A 1 โมเลกุลมีมวล

โมล
การบอกปริมาณของสิ่งของในชีวิตประจำวัน อาจบอกเป็นหน่วยน้ำหนัก เช่น กรัม กิโลกรัม หรือหน่วยปริมาตร เช่น ลูกบาศก์เซนติเมตร ลูกบาศก์เมตร นอกจากนี้ถ้าสิ่งของมีจำนวนมาก อาจบอกเป็นหน่วยโหล (1 โหล = 12 ชิ้น) หรือกุรุส (1 กุรุส = 144 ชิ้น)
การบอกปริมาณสารเคมีก็เช่นเดียวกัน อาจบอกเป็นหน่วยมวล หน่วยปริมาตร หรือหน่วยแสดงจำนวนอนุภาคของสาร แต่เนื่องจากสารประกอบด้วยอนุภาคที่มีขนาดเล็กและมีจำนวนมาก เช่น น้ำตาลทราย 1เกล็ด (ประมาณ 0.0001 กรัม) มีมี


จำนวนอนุภาคของคาร์บอน -12 ปริมาณ 12 กรัม มีค่ามากหรือน้อยเพียงใด
เราทราบแล้วว่าคาร์บอน -12 จำนวน 1 อะตอม มีมวล







รูป 4.2 สารตัวอย่าง 1 โมลซึ่งมีดังนั้น สาร 1 โมล มี

สาร 2 โมล มี

สาร 0.5 โมลมี

อนุภาคของสารอาจเป็นอะตอม โมเลกุล ไอออน หรืออื่นๆ ขึ้นอยู่กับประเภทของสารดังตัวอย่างในตาราง 4.2
ตาราง 4.2 จำนวนและชนิดของอนุภาคของสารบางชนิด
สาร | จำนวนโมล | จำนวนและชนิดของอนุภาค |
K Kr ![]() ![]() ![]() NaC1 ![]() | 1 1 1 2 0.5 1 1 | ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() |
- ประเภทของสารกับชนิดของอนุภาคมีความสัมพันธ์กันอย่างไร
จากข้อมูลในตาราง 4.2 พบว่าในกรณีของธาตุที่เป็นโลหะหรือแก๊สเฉื่อย อนุภาคของสารจะหมายถึงอะตอมส่วนสารประกอบโคเวเลนสต์อนุภาคของสารจะเป็นโมเลกุลสำหรับสารไอออนิกซึ่งประกอบด้วยไอออนบวกกับไอออนลบรวมกันเป็นโครงผนึก ชนิดของอนุภาคของสารประเภทนี้จึงหมายถึงไอออน เนื่องจากอนุภาคของสารปรากฏอยู่ในหลายลักษณะดังได้กล่าวแล้ว ดังนั้นการบอกปริมาณสารเป็นโมลจึงควรระบุชนิดของอนุภาคให้ชัดเจน
การบอกปริมาณของสารเป็นโมลทำให้ทราบจำนวนอนุภาคของสารนั้นได้ นักเรียนคิดว่าปริมาณของสารในหน่วยโมลมีความสัมพันธ์กับปริมาณอื่นๆอีกหรือไม่ อย่างไร จะได้ศึกษาในหัวข้อต่อไป
แบบฝึกหัด 4.3
1. จงคำนวณหาจำนวนโมลของสารต่อไปนี้
ก.ฮีเลียม

ข.แก๊สแอมโมเนีย

ค.เหล็ก

ง.กำมะถัน 1 atom
จ.โพแทสเซียมไอออน 100 ion
2. จงคำนวณหาจำนวนอนุภาคของสารต่อไปนี้
ก. อาร์กอน 3.00 mol
ข.เหล็ก 8.50 mol
ค.โซเดียมไอออน 0.001 mol
ง.น้ำ 5.00 mol
จ.ไนเตรตไอออน

จำนวนโมลกับมวลของสาร
นักเรียนได้ศึกษามาแล้วว่าสารปริมาณ 1 โมล มีจำนวนอนุภาคเท่ากับเลขอาโวกาโดรคือ

*มวลต่อโมลของสารใด ๆ หมายถึง มวล (เป็นกรัมหรือกิโลกรัม) ของอนุภาค

ตาราง 4.3จำนวนอะตอมและมวลของธาตุบางชนิดปริมาณ 1 โมล
ธาตุ | มวลอะตอม | จำนวนอะตอมต่อโมล | มวล(g) |
ลิเทียม (Li) เหล็ก(Fe) ทองคำ(Au) โพแทสเซียม(K) | 6.941 55.845 196.966 39.098 | ![]() ![]() ![]() ![]() | 6.941 55.845 196.966 39.098 |


ออกซิเจนมีมวลอะตอมเท่ากับ 16 ดังนี้ ออกซิเจน 1 โมล หรือ

ในทำนองเดียวกันถ้าสารนั้นเป็นโมเลกุลจะพบว่า สารใดๆ 1 โมล หรือ

แก๊สคลอรีนมีมวลโมเลกุลเท่ากับ 71 ดังนั้น แก๊สคลอลีน 1 โมล หรือ

น้ำมีมวลโมเลกุลเท่ากับ 18 ดังนั้น น้ำ 1 โมล หรือ

สำหรับสารที่มีองค์ประกอบเป็นไอออน ให้ถือว่ามวลเป็นกรัม ของไอออนของธาตุใดๆ มีค่าเท่ากับมวลอะตอมของธาตุนั้น เช่น โซเดียมคลอไรด์ (NaC1)1 โมล ประกอบด้วย


โซเดียมคลอไรด์ 1 โมล มีมวล
= มวลของ


=23 กรัม + 35.5 กรัม
=58.5 กรัม
สารประกอบอื่นๆที่มีองค์ประกอบเป็นไอออน เช่น โพแทสเซียมไอโอไดด์ โซเดียมฟลูออไรด์ โพแทสเซียมโบรไมด์ แคลเซียมคลอไรด์ ก็สามารถหามวล 1 โมล ของสารเหล่านี้ได้ด้วยวิธีเดียวกัน
สารต่างชนิดกันแต่มีจำนวนโมลเท่ากันจะมีมวลเท่ากันหรือไม่ และถ้าสารต่างชนิดกันมีมวลเท่ากันจะมีจำนวนอนุภาคเท่ากันหรือไม่
การบอกปริมาณสารในวิชาเคมี โดยทั่วไปจะมีส่วนประกอบ 2 คือ ตัวเลขและหน่วยที่ใช้วัดเพื่อสื่อความหมายให้เข้าใจตรงกันเช่น คาร์บอน -12 1 โมล หน่วยในที่นี้คือโมล แต่เนื่องจากโมลมีความสัมพันธ์กับหน่วยอื่นๆอีกคือ จำนวนอนุภาคหรือมวลเป็นกรัมดังที่ศึกษามาแล้ว จึงสามารถเปลี่ยนแปลงตัวเลขและหน่วยโดยไม่ทำให้ปริมาณเดิมเปลี่ยนไปได้
เราทราบแล้วว่าคาร์บอน -12 1 โมลมีจำนวนอนุภาค


เมื่อใช้








อนุภาคที่มีค่าเท่ากับ 1 เนื่องจากมีเศษและส่วนเป็นปริมาณเท่ากันเมื่อแต่ละอัตราส่วนไปคูณกับปริมารที่มีหน่วยเหมือนกับส่วนจะทำให้ได้หน่วยใหม่แต่ปริมาณไม่เปลี่ยนแปลง จึงเรียกแต่ละอัตราส่วนนี้ว่า แฟคเตอร์เปลี่ยนหน่วย แฟคเตอร์เปลี่ยนหน่วยใช้ประโยชน์สำหรับแปลงหน่วยของปริมาณที่วัดจากหน่วยหนึ่งไปเป็นหน่วยอื่นโดยปริมาณไม่เปลี่ยนแปลง สำหรับแฟคเตอร์ในตัวอย่างนี้จึงใช้แปลงหน่วยโมลเป็นอนุภาค และอนุภาคเป็นโมลตามลำดับ
จากความสัมพันธ์ที่ว่าสาร 1 โมลมีมวลเป็นกรัม เท่ากับมวลอะตอมของธาตุหรือมวลโมเลกุลของสารประกอบนั้น ความสัมพันธ์ดังกล่าวนี้เขียนในรูปแฟคเตอร์เปลี่ยนหน่วยได้ดังนี้

การทำโจทย์ทางเคมีที่จะได้ศึกษาต่อไปในบทนี้จะใช้วีการเปลี่ยนแปลงค่าและหน่วยต่างๆโดยใช้แฟคเตอร์เปลี่ยนหน่วยที่มีความสัมพันธ์กัน วีการทำเป็นอย่างไรให้ศึกษารายละเอียดจากตัวอย่างต่อไปนี้
ตัวอย่าง 6 กำมะถัน 1 mol มีมวล 32.01g กำมะถัน 160.05g มีจำนวนโมลเท่าใด
โจทย์กำหนดมวลเป็นกำมะถัน ต้องการทราบจำนวนโมลแฟคเตอร์เป็นหน่วยที่นำมาใช้จึงเป็นสาร 1 โมล/มวลเป็นกรัม เท่ากับมวลอะตอม ซึ่งก็คือ 1 โมลของกำมะถัน/มวลอะตอมของกำมะถันมีหน่วยเป็นกรัมจะได้ว่า

นั่นคือ กำมะถัน 160.05 กรัม มี 5 โมล

โจทย์กำหนดจำนวนโมล ต้องการทราบมวล แฟคเตอร์เปลี่ยนหน่วยที่นำมาใช้จึงเป็นมวลโมเลกุลของสารหน่วยเป็นกรัม/สาร 1 โมล ในที่นี้คือ NaOH 40g/NaOH 1 โมล จะได้ว่า

นั่นคือ NaOH 3 โมล มีมวล 120 กรัม

แบบฝึกหัด 4.41. จงคำนวณหาจำนวนโมลของสารที่กำหนดให้ต่อไปนี้
ก. อะลูมิเนียม (AI) 2.70 g
ข. น้ำ

ค. เลด (II) ไนเตรต

ง. ดีบุก (Sn) 17.5 g
2. จงคำนวณหาจำนวนโมลและมวลของสารต่อไปนี้
ก. แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์

ข. โพแทสเซียมไอออน

ค. ฟอสฟอรัส

ง. ตะกั่ว 1 atom
3. สารต่อไปนี้มีจำนวนอนุภาคเท่าใด
ก. โซเดียมไอออน

ข. เฮกเซน

ค. คาร์บอน (C) 4 g
ง. แก๊สไนโตรเจนมอนอกไซด์ (NO) 30 g
4. ไฮโดรเจนซัลไฟด์ 1 โมเลกุล ประกอบด้วย H 2 อะตอม และ S 1 อะตอม ถ้ามีไฮโดรเจนซัลไฟด์ 0.4 โมล จงหา
ก. มวลของไฮโดรเจนซัลไฟด์
ข. มวลของ H และ S
ค. จำนวนโมเลกุลของไฮโดรเจนซัลไฟด์
ง. จำนวนอะตอมของ H และ S
5. กรดซัลฟิวริก 9.8 g แก๊สไฮโดรเจน 2 g และแก๊สไฮโดรเจนคลอไรด์ 36.5 g สารใดมีจำนวนโมเลกุลน้อยสุด
6. จงคำนวณจำนวนโมลและมวลของสารประกอบชนิดหนึ่งที่มี

7. สารต่อไปนี้มีมวลเป็นเท่าใด
ก. แก๊สไฮโดรเจน

ข. ไอน้ำ

ค. แก๊สออกซิเจน

ง. โลหะเงิน 0.0034 mol
จ. ออกซิเจนอะตอม 3.00 mol
ปริมาตรต่อโมลของแก๊ส
เนื่องจากแก๊สมีมวลน้อยมาก ปริมาณสารในสถานะแก๊สส่วนใหญ่จึงระบุเป็นปริมาตร แต่ละปริมาตรของแก๊สเปลี่ยนแปลงตามอุณหภูมิและความดันดังนั้นจึงต้องระบุอุณหภูมิและความดันที่วัดปริมาตรไว้ด้วย นักวิทยาศาสตร์กำหนดให้อุณหภูมิ

จากการทดลองหามวลของแก๊สบางชนิด ปริมาตร 1 ลูกบาศก์เดซิเมตร หรือ 1 ลิตร ที่ STP ได้ข้อมูลดังตาราง 4.4
ตาราง 4.4 มวลของแก๊สบางชนิดปริมาณ 1 ลูกบาศก์เดซิเมตรที่ STP
แก๊ส | มวลโมเลกุล | มวลของแก๊ส(g) |
ฮีเลียม (He) นีออน (Ne) ไนโตรเจน ![]() ออกซิเจน ![]() คาร์บอนมอนอกไซด์ (CO) คาร์บอนไดออกไซด์ ![]() | 4 20 28 32 28 44 | 0.18 0.88 1.23 1.43 1.24 1.97 |
ถ้าใช้ข้อมูลของแก๊สออกซิเจนเป็นตัวอย่างในการคำนวณหาว่าแก๊ส 1 โมลมีปริมาณเท่าใดที่ STP นั้น ทำได้ดังนี้
เราทราบมาแล้วว่าแก๊สออกซิเจน 1 โมล มีมวลเป็นกรัมเท่ากับมวลโมเลกุลคือ 32 กรัม จากข้อมูลในตาราง 4.4 แก๊สออกซิเจนปริมาตร 1 ลูกบาศก์เดซิเมตรที่ STP มีมวล 1.43 กรัม ซึ่งเขียนในรูปแฟคเตอร์เปลี่ยนหน่วยได้เป็น



นั่นคือ แก๊สออกซิเจน 32 กรัมหรือปริมาณ 1 โมล มีปริมาณเท่ากับ 22.4 ลูกบาศก์เดซิเมตรที่ STP หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งว่า ปริมาตรต่อโมลของแก๊ซออกซิเจนเท่ากับ 22.4 ลูกบาศก์เดซิเมตรที่ STP
การคำนวณหาปริมาตรต่อโมลของแก๊สฮีเลียม แก๊สนีออน แก๊สไนโตรเจน แก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์ และแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ หรือพบว่าได้ผลเช่นเดียวกันคือมีปริมาตร 22.4 ลูกบาศก์เดซิเมตรที่ STP
ในทำนองเดียวกันนี้เมื่อศึกษากับแก๊สอื่นๆ ก็พบว่าแก๊ส 1 โมลมีปริมาตร 22.4 ลูกบาศก์เดซิเมตรที่ STP จึงสรุปได้ว่า แก๊สใดๆ 1 โมลมีปริมาตร 22.4 ลูกบาศก์เดซิเมตร หรือ 22.4 ลิตร ที่ STP หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งว่า ปริมาตรต่อโมลของแก๊สใดๆมีค่าเท่ากับ 22.4 ลูกบาศก์เดซิเมตร หรือ 22.4 ลิตรที่ STP ความสัมพันธ์นี้เมื่อเขียนในรูปแฟคเตอร์เปลี่ยนหน่วยจะเป็นดังนี้

แฟคเตอร์ทั้งสองนี้ใช้สำหรับเปลี่ยนหน่วยใดให้เป็นหน่วยใดตามลำดับ
ความสัมพันธ์ระหว่างจำนวนโมล อนุภาค มวล และปริมาตรของแก๊ส
ได้ทราบแล้วว่าสาร 1 โมล มีจำนวน



รูปที่ 4.3 การบอกปริมาณในหน่วยต่างๆ
หรือสรุปเป็นแผนภาพแสดงความสัมพันธ์ซึ่งกันและกันระหว่างโมลกับมวล จำนวนอะตอมหรือจำนวนโมเลกุลหรือปริมาตรของแก๊สที่ STP ได้ดังนี้
จากแผนภาพ สามารถใช้คำนวณหาจำนวนโมล จำนวน อนุภาค มวลและปริมาตรของสารได้ดังตัวอย่างต่อไปนี้
ตัวอย่าง 8 กำมะถัน 10 g มีจำนวนอะตอมเท่าใดวิธีที่ 1
ขั้นที่ 1 เปลี่ยนมวลให้เป็นโมล ใช้ความสัมพันธ์คือสาร 1 โมล มีมวลเป็นกรัมเท่ากับมวลอะตอม จึงได้แฟคเตอร์เปลี่ยนหน่วยเป็นกำมะถัน 1 โมล/มวลเป็นกรัมเท่ากับมวลอะตอมของกำมะถันซึ่งก็คือ 32 กรัม ดังนั้น
mol S =





=

กำมะถัน 10 กรัม มี

วิธีที่ 2
อาจทำโดยนำขั้นที่ 1 และ 2 มารวมเป็นขั้นตอนเดียว จะได้ว่า

=

กำมะถัน 10 กรัม มี

ตัวอย่าง 9
แก๊สไนโตรเจนไดออกไซด์

![\displaysyle[tex]\displaysyle1.51x10^{23} \displaysyle[tex]\displaysyle1.51x10^{23}](http://www.vcharkarn.com/latexrender/pictures1/0d0/0d0dcb2541492b428050396976ee702f.png)
(1)มวลของ

.jpg)
ขั้นที่ 1 เปลี่ยนจำนวนโมเลกุลเป็นโมล ใช้ความสัมพันธ์คือ สาร 1 โมล มีจำนวน



Mol


= 0.2508 mol

ขั้นที่ 2 เปลี่ยนโมลเป็นมวล ใช้ความสัมพันธ์คือ สาร 1 โมล มีมวลเป็นกรัมเท่ากับมวลโมเลกุล แฟคเตอร์เปลี่ยนหน่วยที่นำมาใช้คือ มวลเป็นกรัมเท่ากับมวลโมเลกุลของ





วิธีที่ 2
ทำเป็นขั้นตอนเดียว โดยคูณปริมาณที่กำหนดให้ด้วยแฟคเตอร์เปลี่ยนหน่วยที่สัมพันธ์ต่อเนื่องกันจนได้หน่วยตามต้องการ จะได้ว่า
.jpg)
= 11.53 g


ปริมาตรที่ STP ของ

เปลี่ยนจำนวนโมล







ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น